แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(พ.ศ.2567-2570)  ทบทวนปีการศึกษา 2567

 

ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT  Analysis)  ปีการศึกษา 2567

จุดแข็ง  (Strength)

1.    บัณฑิตเป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการ

2.    ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีความเข้มแข็ง  สามารถให้คำปรึกษาได้อย่างใกล้ชิด

3.    มีหลักสูตรหลากหลายที่สามารถรองรับนักศึกษาในการรับการศึกษา

4.    มีหลักสูตรระดับปริญญาเอกส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานตามพันธกิจของคณะฯ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น  งานวิจัย  งานบริการวิชาการ

5.    การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานและมีผลงานรางวัลด้านสหกิจศึกษา/CWIE

6.    บุคลากรของคณะฯ มีประสบการณ์การทำงาน และมีความรับผิดชอบหน้าที่ในหน่วยงานที่สำคัญ เช่น ศูนย์สหกิจศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

จุดอ่อน  (Weakness)

1.    การรับนักศึกษายังไม่ได้ตามเป้าหมายของหลักสูตร 

2.    อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก  และตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำมีน้อย 

3.    อัตรากำลังของหลักสูตร

4.    ผลงานวิจัย  Impact  ยังน้อย และเป็นงบสนับสนุนภายใน

5.    งานบริการวิชาการยังไม่สะท้อนผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมที่จะนำไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืนอย่างแท้จริง

6.    ห้องปฏิบัติการในบางหลักสูตรยังต้องปรับปรุงให้เหมาะสมกับการฝึกทักษะของนักศึกษา   

7.    งบประมาณในการบริหารจัดการและการพัฒนาซึ่งเป็นผลกระทบจากจำนวนนักศึกษาที่ลดลง

โอกาส  (Opportunities)

1.    มีเครือธุรกิจที่เป็นโอกาสในการร่วมจัดการศึกษา

2.    การปฏิรูปของกระทรวง อว. ที่มีความยืดหยุ่นในการจัดการศึกษา

3.    ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นช่องทางในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของคณะฯ เพิ่มมากขึ้น

4.    มีศิษย์เก่า ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่เป็นโอกาสในการประสานความร่วมมือในการดำเนินการด้านต่างๆ

อุปสรรค/ภัยคุกคาม  (Threats)

1.    การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างๆ ที่ทำให้การปรับตัวไม่สามารถทำได้อย่างเท่าทัน

2.    การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรที่ลดลง

3.    การแข่งขันการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา 

4.    ผู้เรียน และผู้ปกครองยังให้ความสำคัญกับการศึกษาต่อในสถาบันฯ การศึกษาของรัฐ ทั้งสาเหตุด้านค่าใช้จ่าย และความเชื่อมั่น

5.    สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำส่งผลต่อการตัดสินใจเรียนของนักเรียน และผู้ปกครอง

 

 

Strategic Advantage

  1. บัณฑิตเป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการ
  2. ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีความเข้มแข็ง สามารถให้คำปรึกษาได้อย่างใกล้ชิด
  3. มีหลักสูตรหลากหลายที่สามารถรองรับนักศึกษาในการรับการศึกษา
  4. มีหลักสูตรระดับปริญญาเอกส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานตามพันธกิจของคณะฯ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น งานวิจัย  งานบริการวิชาการ
  5. การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานและมีผลงานรางวัลด้านสหกิจศึกษา/CWIE
  6. บุคลากรของคณะฯ มีประสบการณ์การทำงาน และมีความรับผิดชอบหน้าที่ในหน่วยงานที่สำคัญ เช่น ศูนย์สหกิจศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

Strategic Challenge

  1. การรับนักศึกษายังไม่ได้ตามเป้าหมายของหลักสูตร
  2. อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก และตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำมีน้อย 
  3. อัตรากำลังของหลักสูตร
  4. ผลงานวิจัย Impact  ยังน้อย และเป็นงบสนับสนุนภายใน
  5. งานบริการวิชาการยังไม่สะท้อนผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมที่จะนำไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืนอย่างแท้จริง
  6. ห้องปฏิบัติการในบางหลักสูตรยังต้องปรับปรุงให้เหมาะสมกับการฝึกทักษะของนักศึกษา
  7. งบประมาณในการบริหารจัดการและการพัฒนาซึ่งเป็นผลกระทบจากจำนวนนักศึกษาที่ลดลง

Strategic Opportunity

  1. มีเครือธุรกิจที่เป็นโอกาสในการร่วมจัดการศึกษา
  2. การปฏิรูปของกระทรวง อว. ที่มีความยืดหยุ่นในการจัดการศึกษา
  3. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นช่องทางในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของคณะฯ เพิ่มมากขึ้น
  4. มีศิษย์เก่า ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่เป็นโอกาสในการประสานความร่วมมือในการดำเนินการด้านต่างๆ

Objective

  1. การเพิ่มจำนวนนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร
  2. พัฒนาการเรียนการสอนนแบบบูรณาการกับการทำงาน
  3. พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานวิจัยและการตีพิมพ์เผยแพร่
  4. ส่งเสริมการเพิ่มคุณวุฒิ และการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  5. พัฒนาการบูรณาการงานวิจัย บริการวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม
  6. พัฒนาการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

 

เอกลักษณ์

ความโดดเด่นในการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทำงาน

 

คุณลักษณะบัณฑิตตามอัตลักษณ์

บุคลิกภาพดี มีความรู้คู่คุณธรรม และนักปฏิบัติ

 

วิสัยทัศน์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการจัดการศึกษาแบบบูรณาการกับการทำงาน

 มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี

 

พันธกิจ

  1. จัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการและ

  นวัตกร        

  1. สร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า
  2. บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สังคม อย่างยั่งยืน
  3. ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ เผยแพร่ ให้เกิดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าทาง

  เศรษฐกิจ

  1. สร้างความเข้มแข็ง พึ่งตนเอง เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

 

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา

  1. จัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นนวัตกร และพัฒนา

บัณฑิตที่พึงประสงค์

  1. พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า
  2. พัฒนางานบริการวิชาการเชิงพื้นที่เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับชุมชน

     และสังคมอย่างยั่งยืน

  1. ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ เผยแพร่ ให้เกิดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าทาง

     เศรษฐกิจ

  1. สร้างความเข้มแข็ง พึ่งตนเอง เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

 

เป้าประสงค์

  1. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการจัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาของภูมิภาค บัณฑิตมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นนวัตกร และมีคุณลักษณะตามสมรรถนะวิชาชีพและบัณฑิตที่พึงประสงค์
  2. ผลงานวิจัย และนวัตกรรมมีคุณภาพสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. การบริการวิชาการสามารถนำไปสู่การแก้ปัญหา และการพัฒนาชุมชนและสังคมส่งผลต่อการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
  4. องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่ และการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
  5. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเข้มแข็ง มีการบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล บุคลากรมีความสุขและมีศักยภาพ

 

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2567

พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการและนวัตกร

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 1 จัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นนวัตกร และพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์

เป้าประสงค์ 1  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการจัดการศึกษาที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาของภูมิภาค บัณฑิตมีคุณภาพ คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสู่การเป็นนวัตกร และมีคุณลักษณะตามสมรรถนะวิชาชีพและบัณฑิตที่พึงประสงค์

 

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO1 เพื่อยกระดับคุณภาพบัณฑิตในการประกอบอาชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

O1 KR1 หลักสูตรมีกระบวนการเรียนการสอนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานที่กำหนด

 

 

 

จำนวน

2

2

2

2

KR1 S1 พัฒนาความร่วมมือกับสถานประกอบการและกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการทำงาน (CWIE)

ร้อยละของนักศึกษาในได้ฝึกปฏิบัติงานในธุรกิจอุตสาหกรรมมูลค่าสูง

40

60

70

90

KR1 S2 พัฒนาการออกแบบโครงงานของนักศึกษาโดยการดูแลให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิดของอาจารย์นิเทศก์

ร้อยละของจำนวนโครงงาน   สหกิจศึกษาที่ผ่านการประเมินในระดับดีขึ้นไป

60

75

85

90

O1 KR2 บัณฑิตคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์เป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการ

ร้อยละ

85

90

95

95

KR2 S3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

85

90

95

95

 

 

 

 

 

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO2 การจัดการศึกษาประกาศนียบัตรและหลักสูตรระยะสั้น Up – Re Skill Credit Bank เพื่อยกระดับการพัฒนากำลังคนในพื้นที่

O2 KR3 การจัดหลักสูตรระยะสั้นที่สร้างอาชีพและพัฒนากำลังคนให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพรวมทั้งมีรายได้เพิ่ม

จำนวน

1

1

1

2

KR3 S4 สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น Up – Re Skill

จำนวนหลักสูตรระยะสั้นที่มีการพัฒนาตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง

1

1

1

2

 

 

พันธกิจที่ 2 สร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 2 พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า

เป้าประสงค์ 2 ผลงานวิจัย และนวัตกรรมมีคุณภาพสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างมีคุณค่า

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO3 ผลงานวิจัยนวัตกรรมเชิงสหวิทยาการเป็นประโยชน์กับชุมชน และสามารถตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับชาติ นานาชาติ

O3 KR4 งานวิจัยนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

 

 

 

ร้อยละ

30

50

60

80

KR4 S5 ส่งเสริมให้อาจารย์ดำเนินงานวิจัยบูรณาการศาสตร์ และดำเนินการร่วมกับชุมชน ท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

ร้อยละงานวิจัยนวัตกรรมในรูปแบบสหวิทยาการหรือชุดโครงการที่ใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

30

50

60

80

O3 KR5 ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มี Impact Factor

ร้อยละ

30

50

60

80

KR5 S6 กำกับติดตามแก้ปัญหาการดำเนินงานวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง

 

พันธกิจที่ 3 บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สังคม อย่างยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 3 พัฒนางานบริการวิชาการเชิงพื้นที่เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน

เป้าประสงค์ 3 การบริการวิชาการสามารถนำไปสู่การแก้ปัญหา และการพัฒนาชุมชนและสังคมส่งผลต่อการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO4 การบริการวิชาการสามารถเพิ่มศักยภาพของชุมชนตามนโยบาย SDG ของประเทศและพัฒนาอย่างยั่งยืน

O4 KR6 ชุมชนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตจากการให้บริการวิชาการ

จำนวนชุมชน

1

1

1

1

KR6 S7 บูรณาการการบริการวิชาการกับการวิจัย

มูลค่าผลตอบแทนทางสังคมของชุมชนจากการให้บริการวิชาการ

1.0

1.0

1.0

1.0

O4 KR7 รายได้จากการให้บริการวิชาการเชิงพาณิชย์ในการพัฒนาหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก

ล้านบาท

0.4

0.6

0.8

1

KR7 S8 พัฒนาหลักสูตรบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมกับสถานประกอบการ/หน่วยงาน

จำนวนหลักสูตรการให้บริการวิชาการเชิงพาณิชย์

1

1

2

2

 

พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ เผยแพร่ ให้เกิดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ เผยแพร่ ให้เกิดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

เป้าประสงค์ 4 องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่ และการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO5 สืบสาน สร้างสรรค์ รักษา พัฒนา สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกับงานศิลปวัฒนธรรม  ในพื้นที่

O5 KR8 ศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ได้รับการสืบสาน สร้างสรรค์ รักษา พัฒนา สร้างมูลค่าเพิ่ม

จำนวนชุมชน

1

1

1

1

KR8 SO9 สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายกับภาครัฐ และหรือเอกชนในการนำศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาสู่การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของชุมชน

 

จำนวนผลิตภัณฑ์จากทุนวัฒนธรรมในพื้นที่ที่สามารถสร้างรายได้แก่ชุมชน

 

1.0

1.0

1.0

1.0

ร้อยละของคณาจารย์ในคณะที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม

60

70

75

80

 

พันธกิจที่ 5 สร้างความเข้มแข็ง พึ่งตนเอง เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 5 สร้างความเข้มแข็ง พึ่งตนเอง เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์ 5 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเข้มแข็ง มีการบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล บุคลากรมีความสุขและมีศักยภาพ

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

SO6 หลักสูตรจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ

O6 KR9 หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาภายในที่สูงขึ้น

จำนวนหลักสูตร

2

2

2

2

KR9 SO10 พัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ร้อยละของหลักสูตรมีการดำเนินงานตาม Improvement Plan ที่กำหนด

80

90

100

100

KR9 SO11 สร้างความร่วมมือกับศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน ตลอดจนเครือข่ายภายนอกในการดำเนินการด้านการประชาสัมพันธ์ การรับสมัครนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร

ร้อยละของจำนวนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น

3

3

5

10

KR9 SO12 พัฒนาสื่อที่หลากหลายและการประชาสัมพันธ์เน้นจุดเด่น ความสำเร็จของศิษย์เก่า และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

ร้อยละของนักศึกษาที่สมัครเข้าเรียนจากการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์

30

40

50

70

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ

Key Results (KR)

หน่วย
นับ

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

67

68

69

70

67

68

69

70

 

O6 KR10 อาจารย์มีคุณวุฒิ ตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น

จำนวน

1

1

1

KR9 SO13 ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะ คุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์

ร้อยละของคณาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาตาม ID Plan ที่กำหนด 

85

85

85

85

จำนวนอาจารย์ที่ยื่นขอรับการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ

1

1

1

O6 KR11 คณะมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน

4.00

4.00

4.00

4.00

KR9 SO14 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

ร้อยละของอาจารย์ที่มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของคณะ

60

70

80

85

KR9 SO15 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก ความผูกพันธ์ และขวัญกำลังใจแก่บุคลากรในคณะฯ

ระดับผลการประเมินความผูกพันธ์ต่อองค์กร

4.00

4.00

4.00

4.00

 

แผนงานโครงการ ประจำปีการศึกษา 2567

พันธกิจที่ 1 ผลิตบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ และมาตรฐาน

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาโดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทำงาน และกิจกรรมพัฒนาบัณฑิต  

ที่พึงประสงค์

เป้าประสงค์ 1 บัณฑิตมีสมรรถนะ ทักษะความสามารถการปฏิบัติงานในยุคศตวรรษที่ 21 และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

SO1 เพื่อยกระดับคุณภาพบัณฑิตในการประกอบอาชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

O1 KR1 หลักสูตรมีกระบวนการเรียนการสอนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานที่กำหนด

 

KR1 S1 พัฒนาความร่วมมือกับสถานประกอบการและกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการทำงาน (CWIE)

ร้อยละของนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมมูลค่าสูง

กิจกรรมสร้างความร่วมมือการจัดการศึกษากับสถานประกอบการ

5,000

ก.ย. – ธ.ค. 67

KR1 S2 พัฒนาการออกแบบโครงงานของนักศึกษาโดยการดูแลให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิดของอาจารย์นิเทศก์

ร้อยละของจำนวนโครงงานสหกิจศึกษาที่ผ่านการประเมินในระดับดีขึ้นไป

โครงการเตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สร้างแนวคิดการแสวงหาโครงงานนวัตกรรม

10,000

พ.ย.67 – ก.พ.68

 

O1 KR2 บัณฑิตคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์เป็นที่ยอมรับของสถานประกอบการ

KR2 S3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

โครงการ Year Base พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20,000

สค. – ธค. 67

โครงการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

50,000

ก.ย.67 – ก.พ.68

SO2 การจัดการศึกษาประกาศนียบัตรและหลักสูตรระยะสั้น Up – Re Skill Credit Bank เพื่อยกระดับการพัฒนากำลังคนในพื้นที่

O2 KR3 การจัดหลักสูตรระยะสั้นที่สร้างอาชีพและพัฒนากำลังคนให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพรวมทั้งมีรายได้เพิ่ม

KR3 S4 สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น Up – Re Skill

จำนวนหลักสูตรระยะสั้นที่มีการพัฒนาตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง

กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

5,000

ก.ย. – พ.ย. 67

รวมงบประมาณ

90,000

 

 

พันธกิจที่ 2 พัฒนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 2 พัฒนาการดำเนินงานวิจัยและนวัตกรรมแบบมุ่งเป้าเชิงพื้นที่เพื่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

เป้าประสงค์ 2 ผลงานวิจัยมีคุณภาพและมีประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

 

SO3 ผลงานวิจัยนวัตกรรมเชิงสหวิทยาการเป็นประโยชน์กับชุมชน และสามารถตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับชาติ นานาชาติ

O3 KR4 งานวิจัยนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

KR4 S5 ส่งเสริมให้อาจารย์ดำเนินงานวิจัยบูรณาการศาสตร์ และดำเนินการร่วมกับชุมชน ท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

ร้อยละงานวิจัยนวัตกรรมในรูปแบบสหวิทยาการหรือชุดโครงการที่ใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

โครงการวิจัยมุ่งเป้าเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาเชิงพื้นที่

(งบกลาง)

 

 

กิจกรรมพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อยื่นข้อเสนอแหล่งทุนภายนอก

10,000

ต.ค.- ธ.ค. 67

 

O3 KR5 ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มี Impact Factor

KR5 S6 กำกับติดตามแก้ปัญหาการดำเนินงานวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง

 

รวมงบประมาณ

10,000

 

 

 

พันธกิจที่ 3 บริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 3 พัฒนาการบูรณาการศาสตร์ในการบริการวิชาการเพื่อการแก้ปัญหาและสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่น

แบบมีส่วนร่วม

เป้าประสงค์ 3 ชุมชนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตจากการให้บริการวิชาการของคณะวิชา

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

SO4 การบริการวิชาการสามารถเพิ่มศักยภาพของชุมชนตามนโยบาย SDG ของประเทศและพัฒนาอย่างยั่งยืน

O4 KR6 ชุมชนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตจากการให้บริการวิชาการ

KR6 S7 บูรณาการการบริการวิชาการกับการวิจัย

มูลค่าผลตอบแทนทางสังคมของชุมชนจากการให้บริการวิชาการ

โครงการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบริการวิชาการเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนแบบมุ่งเป้า

10,000

ก.ย.67 – ก.พ.68

O4 KR7 รายได้จากการให้บริการวิชาการเชิงพาณิชย์ในการพัฒนาหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก

KR7 S8 พัฒนาหลักสูตรบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมกับสถานประกอบการ/หน่วยงาน

จำนวนหลักสูตรการให้บริการวิชาการเชิงพาณิชย์

กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและการให้บริการวิชาการเชิงพาณิชย์

5,000

ต.ค.67 – มี.ค.68

รวมงบประมาณ

15,000

 

 

พันธกิจที่ 4 สืบสานศิลปวัฒนธรรมและต่อยอดการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจเชิงพื้นที่

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 4 ส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและนำทุนทางวัฒนธรรมไปสู่การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของพื้นที่

เป้าประสงค์ 4 ทุนทางวัฒนธรรม องค์ความรู้ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถนำไปสู่การต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่นจากการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมของคณะวิชา

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

SO5 สืบสาน สร้างสรรค์ รักษา พัฒนา สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกับงานศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่

O5 KR8 ศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ได้รับการสืบสาน สร้างสรรค์ รักษา พัฒนา สร้างมูลค่าเพิ่ม

KR8 SO9 สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายกับภาครัฐ และหรือเอกชนในการนำศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาสู่การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของชุมชน

จำนวนผลิตภัณฑ์จากทุนวัฒนธรรมในพื้นที่ที่สามารถสร้างรายได้แก่ชุมชน

โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนฐานราก

– ศึกษาเรียนรู้วิถีภูมิปัญญา

– บันทึกจัดเก็บองค์ความรู้

– พัฒนาสินค้าชุมชน และผู้ประกอบการ

– พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ และการตลาด

10,000

ต.ค.67 – มี.ค.68

ร้อยละของคณาจารย์ในคณะที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม

รวมงบประมาณ

10,000

 

 

พันธกิจที่ 5 พัฒนาศักยภาพความเข้มแข็งของคณะวิชาแบบมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 5 พัฒนาขีดความสามารถของหลักสูตรและบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมบนหลักธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์ 5 หลักสูตรมีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขัน และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

SO6 หลักสูตรจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ

O6 KR9 หลักสูตรมีผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาภายในที่สูงขึ้น

KR9 SO10 พัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ร้อยละของหลักสูตรมีการดำเนินงานตาม Improvement Plan ที่กำหนด

กิจกรรมกำกับติดตามการดำเนินงานตาม Improvement Plan

 

KR9 SO11 สร้างความร่วมมือกับศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน ตลอดจนเครือข่ายในการดำเนินการด้านการประชาสัมพันธ์ การรับสมัครนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร

ร้อยละของจำนวนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น

กิจกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแนะแนวสานสัมพันธ์

10,000

พ.ย.67 – ก.พ.68

KR9 SO12 พัฒนาสื่อที่หลากหลายและการประชาสัมพันธ์เน้นจุดเด่น ความสำเร็จของศิษย์เก่า และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

ร้อยละของนักศึกษาที่สมัครเข้าเรียนจากการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์

กิจกรรมพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์       คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5,000

ต.ค. – พ.ย.67

 

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

KR

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

 

O6 KR10 อาจารย์มีคุณวุฒิ ตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น

KR9 SO13 ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะ คุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์

ร้อยละของคณาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาตาม ID Plan ที่กำหนด 

กิจกรรมพัฒนา และกำกับติดตามความสำเร็จของแผนพัฒนาตนเอง

 

จำนวนอาจารย์ที่ยื่นขอรับการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ

O6 KR11 คณะมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

KR9 SO14 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

ร้อยละของอาจารย์ที่มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของคณะ

กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของคณะ

 

KR9 SO15 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรัก ความผูกพันธ์ และขวัญกำลังใจแก่บุคลากรในคณะฯ

ระดับผลการประเมินความผูกพันธ์ต่อองค์กร

โครงการสานสัมพันธ์บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4,000

พ.ย.67-ก.พ.68

รวมงบประมาณ

19,000

 

 

สรุปตาราง แสดงประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา  ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณ

ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

ผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญ
Key Results (KR)

กลยุทธ์

โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ

1

3

4

5

90,000

2

2

2

2

10,000

3

2

2

2

15,000

4

1

1

1

10,000

5

3

6

6

19,000

รวม

11

15

16

144,000